ผ่าฟันคุด จำเป็นหรือไม่ หลังการผ่าตัดเพื่อถอนฟันคุดดูแลยังไง?
อาหารที่เคี้ยวยาก เช่น เนื้อติดมัน หมูกรอบ ไก่ทอด หนังหมู เป็นต้น
แก้ม ริมฝีปาก หรือลิ้น โดยอาจเกิดขึ้นจากยาชาที่ตกค้างแต่เกิดขึ้นได้น้อย หรือเกิดจากการฉีกขาดที่บริเวณปลายประสาท ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในกรณีที่ฟันคุดอยู่ลึกใกล้กับเส้นประสาท
โดยเฉพาะในผู้สูงอายุที่ต้องด้านท้ายฟันปลอมจะไปกดทับกระดูก บริเวณที่มีฟันคุดฝังอยู่ ทำให้กระดูกละลายไปทำให้เจ็บบริเวณด้านท้ายฟันเทียม
เมื่อฟันซี่ข้าง ๆ ไม่ต้องรับแรงเบียดจากฟันที่คุด ก็ช่วยลดโอกาสที่เศษอาหารจะเข้ามาติดค้างสะสม เปอร์เซ็นต์ของฟันผุจะต่ำลง แต่ยังไงก็ต้องแปรงฟันเช้าเย็นทุกวันเหมือนเดิมนะค้า เพราะเหตุผลหลักที่ช่วยให้ฟันแข็งแรงไม่ผุเหมือนโดนแมงกินคือการทำความสะอาดช่องปากที่ดีอย่างทั่วถึง
และควรหลีกเลี่ยงการใช้หลอดดูดน้ำ หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารร้อนหรือรสจัด เมื่อแผลเริ่มสมานตัวแล้วจึงเริ่มสามารถรับประทานอาหารตามปกติได้แต่ก็ควรเคี้ยวช้าๆ เพื่อไม่ให้กระทบกระเทือนบริเวณแผล ซึ่งการกลับมารับประทานอาหารได้ตามปกติ จะเร็วหรือช้าก็จะขึ้นอยู่กับตัวคนไข้เองว่ารู้สึกดีขึ้นแล้วหรือยัง
ฟันคุดทำให้เกิดการอักเสบ ติดเชื้อ หรือปวดบวม
ฟันคุด จำเป็นต้อง ผ่าฟันคุด เสมอไปไหม ควรจะเอาออก ถึงแม้ไม่มีอาการ ยกเว้นกรณีที่ฟันคุดนั้นขึ้นได้เต็มซี่ และเราสามารถทำความสะอาดได้ทั่วถึง
บางกรณี ฟันคุดที่ขึ้นมาอาจส่งผลให้การจัดฟัน ไม่เป็นไปตามที่ต้องการ หรือทำให้รีเทนเนอร์เดิมที่เคยทำไว้ใส่ไม่ลง
หากมีปัญหาหรือผลแทรกซ้อนเกิดขึ้นสามารถกลับมาพบทันตแพทย์ได้ก่อนวันนัด
หน้าแรก บริการทันตกรรม โปรโมชั่น บทความเกี่ยวกับฟัน เกี่ยวกับเรา ติดต่อเรา
ด้วยทีมทันตแพทย์เฉพาะทาง ที่จบสาขา “ศัลยกรรมช่องปาก” มีประสบการณ์สูงในด้านการผ่าตัดฟันคุด และการถอนฟันคุด ทำให้สามารถวางแผนการรักษาได้อย่างมืออาชีพ มีความรวดเร็วและความแม่นยำในการผ่าตัด ส่งผลให้แผลจากการผ่าตัดเล็ก ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า และหายได้อย่างรวดเร็ว
ทำไมควรเลือกผ่าฟันคุด หรือถอนฟันคุดกับทันตแพทย์เฉพาะทาง?
จัดฟันของคุณหมอแต่ละท่าน หากคุณหมอประเมินแล้วว่าการ